เครื่องเติมอากาศ

 

เครื่องเติมอากาศสำหรับระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศ เป็นระบบบัดน้ำเสียที่อาศัยการเติมออกซิเจนจากเครื่องเติมอากาศ (Aerator) ที่ติดตั้งแบบทุ่นลอยหรือยึดติดกับแท่นก็ได้ เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับจุลินทรีย์สามารถนำไปใช้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียได้เร็วขึ้นกว่าการปล่อยให้ย่อยสลายตามธรรมชาติ ทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศสามารถบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เครื่องเติมอากาศซึ่งนอกจากจะทำหน้าเพิ่มออกซิเจนในน้ำแล้วยังทำให้เกิดการกวนผสมของน้ำในบ่อด้วยทำให้เกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์ได้อย่างทั่วถึงภายในบ่อ  การทำงานของเครื่องเติมอากาศ สำหรับระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศ เครื่องเติมอากาศออกแบบให้สามารถบำบัดน้ำเสียได้ทั้งน้ำเสียจากแหล่งชุมชนที่มีความสกปรกมากและน้ำเสียจากอุตสาหกรรม เครื่องจะมีประสิทธิภาพสามารถทำให้เกิดการผสมกันของตะกอนจุลินทรีย์ ออกซิเจนละลายในน้ำและน้ำเสีย นอกจากนี้จะต้องมีบ่อบ่ม เพื่อรับน้ำเสียจากบ่อเติมอากาศเพื่อตกตะกอนและปรับสภาพน้ำทิ้งก่อนระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม อุปกรณ์ที่สำคัญของระบบบ่อเติมอากาศคือเครื่องเติมอากาศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ออกซิเจนแก่น้ำเสีย 


เครื่องเติมอากาศแบบ Submersible Aerator เป็นเครื่องเติมอากาศที่เหมาะกับโรงงานบำบัดน้ำเสียและโรงงานอุตสาหกรรม สำหรับการบำบัดน้ำเสียจากน้ำใต้ดิน สินค้าแบรนด์คุณภาพ TSURUMI / GSD / SHINMAYWA สำหรับเพิ่มการไหลเวียนของน้ำ ช่วยบำบัดน้ำเสีย ลดน้ำเน่าเสีย มีตั้งแต่ขนาด 1 HP - 50 HP กำลังไฟ 380 V

 

 

เครื่องเติมอากาศแบ่งออกได้ 4 แบบ 

1.เครื่องเติมอากาศที่ผิวหน้า (Surface Aerator) โดยจะทำหน้าที่ตีน้ำที่ระดับผิวบนให้กระจายเป็นเม็ดเล็กๆ ขึ้นมาเพื่อสัมผัสกับอากาศเพื่อรับออกซิเจนในขณะเดียวกันก็จะเป็นการกวนน้ำให้ผสมกันเพื่อกระจายออกซิเจนและกวนสารในน้ำเสียให้ทั่วบ่อ 

2.เครื่องเติมอากาศเทอร์ไบน์ใต้น้ำ (Turbine Aerator) มีลักษณะการทำงานผสมกับระหว่างระบบเป่าอากาศและระบบเครื่องกลเติมอากาศ คืออากาศหรือออกซิเจนจะเป่ามาตามท่อที่ใต้ใบพัดตีน้ำ จากนั้นอากาศจะถูกใบพัดเทอร์ไบน์ (Turbine) ตีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายไปทั่วถังเติมอากาศ เครื่องเติมอากาศชนิดนี้มีความสามารถในการให้ออกซิเจนสูง แต่มีราคาแพงและต้องการการบำรุงรักษา มากกว่าแบบอื่น 

3.เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ (Submersible Aerator) มีลักษณะผสมกันระหว่างเครื่องสูบน้ำ (Pump) เครื่องดูดอากาศ (Air Blower) และเครื่องตีอากาศให้ผสมกับน้ำ (Disperser) อยู่ในเครื่องเดียวกัน แต่มีข้อจำกัดด้านการกวนน้ำ (Mixing) 

4.เครื่องเติมอากาศแบบหัวฉีด (Jet Aerator) มี 2 แบบ คือ แบบแรกใช้หลักการทำงานของ Venturi Ejector และแบบที่สองจะเป็นการสูบฉีดน้ำลงบนผิวน้ำ การทำงานของแต่ละแบบมีดังนี้ แบบ Venturi Ejector อาศัยเครื่องสูบน้ำแบบใต้น้ำฉีดน้ำผ่านท่อที่มีรูปร่างเป็น Venturi เพื่อเพิ่มความเร็วของน้ำจนกระทั่งเกิดแรงดูดอากาศจากผิวน้ำลงมาผสมกับน้ำก็จะถ่ายเทออกซิเจนลงไปในน้ำ การใช้เครื่องเติมอากาศแบบนี้ เหมาะสำหรับน้ำเสียที่ไม่มีเศษขยะหรือของแข็งขนาดใหญ่เพื่ออาจเข้าไปอุดต้นในท่อ Venturi ได้ง่าย แบบสูบฉีดน้ำลงบนผิวน้ำ (Water Jet Aerator) เป็นการสูบน้ำจากถังเติมอากาศมาฉีดด้วยความเร็วสูงลงที่ผิวน้ำ ซึ่งจะเกิดการกระจายของอากาศลงไปตามแรงฉีดเข้าไปในน้ำ

เครื่องเติมอากาศ คือการใช้เครื่องเติมออกซิเจนหรือการเติมอากาศ ลงไปในระบบบำบัดน้ำเสีย เพราะหากระบบบำบัดน้ำเสียขาดออกซิเจน จุลินทรีย์ทั้งหลายก็ไม่สามารถทำงานได้ ถ้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้ำอยู่สูง ระบบก็สามารถบำบัดน้ำได้ดีหรือสามารถรับน้ำเสียได้มากขึ้น

 
 
เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ Submersible Aerator TSURUMI TRN Series
 
 
สำหรับโรงงานบำบัดน้ำเสียและโรงงานอุตสาหกรรม จากกระบวนการบำบัดน้ำเสีย จากน้ำใต้ดิน ออกแบบมาสำหรับการเติมอากาศและการผสมน้ำเสีย การไหลของของเหลวที่เกิดจากใบพัดกึ่งเปิด (semi-open impeller) พิเศษของ Tsurumi ทำให้เกิดแรงดันติดลบที่ด้านหลังของใบพัดและดึงอากาศจากเหนือผิวน้ำ อากาศที่ถูกดูดเข้าไปผสมกับน้ำโดยใช้แรงกลภายในและใบพัดนำทางจะทำให้เปลี่ยนเป็นฟองอากาศขนาดเล็ก ยิ่งไปกว่านั้นการไหลเวียนของอากาศและน้ำที่ผสมกันจะถูกปล่อยออกมาอย่างเท่าเทียมกันในหลายทิศทางตามเส้นรอบวง การกระทำแบบผสมของอากาศและกระแสหมุนเวียนที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำให้การเติมอากาศ และการกวนมีประสิทธิภาพมากและเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ

 

Tsurumi TRN submersible aerators

Tsurumi's new range of TRN submersible aerators can be used, among other things, to oxygenate biological waste-water-treatment-tanks. They also conform to the new EN 12255-15 European Standard. This new standard requires oxygen transfer rates to be measured under defined standard conditions that specify oxygen should pass through an aeration tank filled with clean water, at a temperature of 20˚C and at sea level altitude.

"The new aerator series offers a large number of improvements in comparison with the previous range," says Tsurumi product manager Carsten Bode. "There is now no need for a separate blower for installation at 6 m and below; the longevity of the machine has been increased; and every single conductor – not just every cable – has waterproof moulding."

Oxygen input rates measured using old standards are often higher than those with EN 1225-15 specifications. Some manufacturers are still using the old method, so customers buying a new piece of equipment should ensure it conforms to the new regulations to compare like-with-like.

As well as being fully EU-compliant, Tsurumi's new submersible aerators have many design features that will increase the lifespan of the equipment. These include an over-sized oil chamber and leading-edge inhouse developed oil-lifter to provide some of the best lubrication around. In addition there are bevelled aerator-casings, which reduce rust by ensuring no water rests on the machine when it is not in operation. The aerators are also made from highly-robust cast iron.

Installation has been made easier as the aerators can easily be put in place with a mobile crane without the need to empty the basin. They also offer a practical advantage as their design means the plant does not need to be totally shutdown while maintenance to the aerators is carried out.

Other advantages of the new aerators are that they can be used to pre-aerate and therefore pre-treat heavily polluted sewage water, and they have the ability to aerate activated sludge basins or neutralise sewage water with C02 or flue gas.

Extensive testing shows the aerators can also deal quickly with algal blooms caused by the eutrophication of lakes, ponds and other natural waters. And the aerators will be an important tool in the flotation process that involves the physical separation of fine-grained solid conglomerates.

The new TRN series will consist of ten models with motor outputs between 0.75 and 40 kW and the first model will be available from autumn 2008, when the production of the old TR/TRN-series will cease.


เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ Submersible Ejector TSURUMI BER Series 

เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ Ejector มีตั้งแต่ขนาด 1HP - 7.5HP กำลังไฟ 380V ตัวเสื้อทำจากเหล็กหล่อหล่อ มีทั้งแบบ Free Standing และ ตัวปั๊มพร้อมชุด Guide Rail Fitting (ชุดขาตั้ง/ตีนเป็ด)  รุ่น BER-series เป็นเครื่อง ejector แบบแช่น้ำที่มีปั๊มน้ำเสียรุ่น B-series และ Venturi-jet pump ประกอบกันอยู่ ปั๊มรุ่นนี้มีกลไกการดูดอากาศด้วยตัวเอง และปล่อยส่วนผสมระหว่างอากาศกับน้ำ ออกทางตัว diffuser กระแสที่พ่นออกมาอย่างมีกำลังทำให้เกิดการหมุนวน ซึ่งทำให้เติมอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพในบริเวณกว้าง  เครื่องเติมอากาศแบบเจ็ทใต้น้ำเหมาะสำหรับการเติมอากาศล่วงหน้าและป้องกันการเน่าเสียของแบคทีเรีย การเติมอากาศล่วงหน้าและการผสมที่โรงบำบัดน้ำเสีย การจัดหาออกซิเจนที่พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำและฟาร์มปลา

Submersible Self-Aspirating Jet Aerators Air-inlet Bore(mm) 25 - 50 Motor Output(kW) 0.75 - 5.5  The BER-series is a submersible self-aspirating jet aerators combined a submersible pump with a venturi-jet based diffuser. The liquid flow generated by the submerged pump causes negative pressure to form around the nozzle, whereby drawing in air from above the water's surface. With this jet injector mechanism, the aspirated air mixes with water and is ejected through the diffuser, simultaneously agitating and aerating the ponded water. The mixed air-water is ejected powerfully in one direction, which effectively agitates the water across a wide area.

                                              
                                                   เครื่องเติมอากาศ Diaphragm Aerator TSURUMI TLD Series

ปั๊มเติมอากาศ TSURUMI TLD SERIES ปั๊มเติมอากาศ ออกซิเจน Tsurumi TLD Series ปั๊มอ๊อกซิเจน Tsurumi ยี่ห้อ ซูรูมิ ปั๊มตู้ปลา ใช้ใน ถังบำบัดน้ำเสีย บ่อเลี้ยงปลา ปลาคาร์พ ปลาเงินปลาทอง อุปกรณ์การแพทย์ บ่อน้ำเสีย ลมสะอาด ไร้น้ำมันในระบบอากาศ ปั๊มเสียงเงียบ แรงสั้นสะเทือนต่ำ รุ่น TLD-20R , TLD-30R  ,TLD-40AC , TLD-60AC , TLD-80AC ,TLD-100AC , TLD-120AC , TLD-150AC , TLD-200AC , TLD-250AC ตัวปั๊มผลิตจากอลูมิเนียม น้ำหนักเบา ระบายความร้อนได้ดี เสียงเงียบขณะทำงาน มีอุปกรณ์ตัดการทำงานเมื่อมอเตอร์ร้อนจัด แรงสั้นสะเทือนต่ำ เครื่องเงียบ ไม่มีน้ำมันในระบบอากาศ ติดตั้งได้ทั้งภายในและภายนอกอาคาร

Diaphragm Aerators Discharge Bore(mm) 18 ・ 26 Motor Input(W) 17 - 270  The TLD-series is a diaphragm aerator designed for aerating wastewater or aquarium water. It operates on AC single-phase. The compact but well-built unit offers a high and stable performance, quiet operation, low energy consumption, and excellent durability. Since no oil is used even in the mechanical parts, the aerator requires no lubrication and discharges air without any contamination. A thermal protection device is built in the electromagnets, which ensures a safety operation. The TLD-series is suitable for wastewater aeration (Johkasou or septic tank), aquaculture, Koi pond, and medical equipment, etc.

 

 

การเลือกใช้เครื่องเติมอากาศ ให้เหมาะสมกับระบบบำบัดน้ำเสีย สภาพการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย จะมีค่าความต้องการออกซิเจนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ อัตราการไหลและปริมาณสารอินทรีย์ที่อยู่ในระบบบำบัดน้ำเสีย เครื่องเติมอากาศจะทำหน้าที่เติมออกซิเจนลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และทำหน้าที่ในการกวนน้ำเพื่อกระจายออกซิเจนให้ไปทั่วถึงบ่อเติมอากาศไม่ให้เกิด Dead zone

เครื่องเติมอากาศ แบ่งออกเป็นเครื่องเติมอากาศที่ผิวหน้าน้ำ (Surface Aerator) และเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ (Submersible Aerator และ Submersible Elector)

แบ่งตามการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป

1.AIR PUMP คือเครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังแรงลมได้ตั้งแต่ 10 -4250 ลิตร/ นาที โดยมีหลักการทำงาน 2 ประเภท  1.1 Double Diaphragm คือ หลักการทำงานของแผ่นไดอะแฟรมในการผลิตลมได้สูงสุดไม่เกิน 200 ลิตร/ นาที ที่แรงดัน 2 เมตรน้ำ ซึ่งมีความเร็วลมออกมาสม่ำเสมอ และ ประหยัดพลังงานกว่าเครื่องเติมอากาศแบบอื่นๆ  1.2 Rotary Vane Type คือหลักการทำงานของการหมุนใบพัด (VANE)ให้สามารถผลิตกำลังแรงลมออกมา โดยมีกำลังแรงลมสูงสุดไม่เกิน 4250 ลิตร/นาที ที่แรงดัน 2 เมตรน้ำ เวลาที่เครื่องเติมอากาศชนิดนี้ทำงานจะมีเสียงเบา และมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน 

2.THREE LOBES BLOWER คือเครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังแรงลมได้ตั้งแต่ 270 – 191,300 ลิตร/นาที โดยมีหลักการทำงาน 2 ประเภท  2.1 THREE LOBES BLOWER TYPE SPUR ROTOR มีหลักการทำงานแบบ THREE LOBES แบบตรง จำนวน 2 อัน และทำการหมุนเพื่อผลิตลมออกมา ดูแลรักษาง่ายกว่า แบบ SUBMERSIBLE  2.2 THREE LOBES BLOWER TYPE HELICAL ROTOR มีหลักการทำงานแบบ THREE LOBES แบบเกลียว จำนวน 2 อัน และทำการหมุนเพื่อผลิตลมออกมา เสียงเบากว่า THREE LOBES แบบตรง 

3. REGENERATIVE BLOWER คือเครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังแรงลมได้ตั้งแต่ 650 – 10,200 ลิตร/นาที มีหลักการทำงานแบบหมุนใบพัด ใน 1 พัดจะมีหลายซีกเพื่อส่งแรงลมระหว่างซีกเพื่อเพิ่มแรงดันลม เป็นชนิดที่มีปริมาณลมมากกว่าชนิดอื่น 

4. SUBMERSIBLE AERATOR or SUBMERSIBLE EJECTOR คือ เครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังลมได้ตั้งแต่ 133 – 6,666 ลิตรต่อนาที โดยต้องแช่ตัวปั้มลงไปในน้ำ และทำการดูดอากาศจากด้านนอกบ่อลงไป ซึ่งจะทำการดูแลรักษายากที่สุด และโอกาสเสียมากที่สุด

ระบบเติมอากาศในบ่อบำบัดน้ำเสีย ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศ เป็นการเติมออกซิเจนจากเครื่องเติมอากาศ ที่ติดตั้งแบบทุ่นลอยหรือยึดติดกับแท่น เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำให้มีปริมาณเพียงพอ สำหรับจุลินทรีย์สามารถนำไปใช้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียได้เร็วขึ้นกว่าการปล่อยให้ย่อยสลายตามธรรมชาติ เป็นเครื่องเติมอากาศที่ออกแบบเพื่อใช้สำหรับเติมออกซิเจนในบ่อเติมอากาศในระบบบำบัดน้ำเสีย ใช้กับระบบบ่อบำบัดน้ำเสียทุกประเภท บ่อเลี้ยงกุ้ง บ่อเลี้ยงปลา

เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ Submersible เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ TSURUMI เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียแบบจุ่มน้ำ บำบัดน้ำเสีย เติมอากาศนากุ้ง บ่อกุ้ง บ่อปลา กังหันตีน้ำ เครื่องเติมอากาศใต้น้ำสำหรับโรงงานบำบัดน้ำเสียและโรงงานอุตสาหกรรม จากกระบวนการบำบัดน้ำเสีย จากน้ำใต้ดิน ระบบเติมอากาศแบบนี้ออกแบบให้มีการเติม อากาศพร้อมกับมีการกวนน้ำเสียให้เข้ากัน ทำให้ประสิทธิภาพการเติมอากาศมากขึ้น 30 เปอร์เซ็นเมื่อเทียบกับการเติมอากาศด้วย หัวจ่ายอากาศ การเลือกใช้เครื่องเติมอากาศให้เหมาะสม กับระบบบำบัดน้ำเสีย สภาพการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย จะมี ค่าความต้องการออกซิเจนแตกต่างกันขึ้น อยู่กับอัตราการไหลและปริมาณสารอินทรีย์ ที่อยู่ในระบบบำบัดน้ำเสีย เครื่องเติมอากาศ ทำหน้าที่สำคัญสองอย่างคือ ทำหน้าที่เติมออกซิเจนลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสีย ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ทำหน้าที่ในการกวนน้ำเพื่อกระจายออกซิเจนให้ไปทั่วถึงบ่อเติมอากาศไม่ให้เกิด Dead zone

ชนิดของเครื่องเติมอากาศ  มีอยู่หลายหลายชนิด 1. AIR PUMP 2. THREE LOBES BLOWER 3. REGENERATIVE BLOWER 4. AERATOR หรือ EJECTOR  เครื่องเติมอากาศ แต่ละชนิดก็มีจุดประสงค์การใช้งานที่แตกต่างกันออกไปตามระบบการทำงานของเครื่องเติมอากาศ  1.AIR PUMP คือเครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังแรงลมได้ตั้งแต่ 10 -4250 ลิตร/ นาที โดยมีหลักการทำงาน 2 ประเภท 1.1 Double Diaphragm คือ หลักการทำงานของแผ่นไดอะแฟรม ในการผลิตลมได้สูงสุดไม่เกิน 200 ลิตร/ นาที ที่แรงดัน 2 เมตรน้ำ ซึ่งมีความเร็วลมออกมาสม่ำเสมอ และ ประหยัดพลังงานกว่าเครื่องเติมอากาศแบบอื่นๆ  1.2 Rotary Vane Type คือหลักการทำงานของการหมุนใบพัด (VANE)ให้สามารถผลิตกำลังแรงลมออกมา โดยมีกำลังแรงลมสูงสุดไม่เกิน 4250 ลิตร/นาที ที่แรงดัน 2 เมตรน้ำ เวลาที่เครื่องเติมอากาศชนิดนี้ทำงานจะมีเสียงเบา และมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน   2.THREE LOBES BLOWER คือเครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังแรงลมได้ตั้งแต่ 270 – 191,300 ลิตร/นาที โดยมีหลักการทำงาน 2 ประเภท  2.1 THREE LOBES BLOWER TYPE SPUR ROTOR มีหลักการทำงานแบบ THREE LOBES แบบตรง จำนวน 2 อัน และทำการหมุนเพื่อผลิตลมออกมา ดูแลรักษาง่ายกว่า แบบ SUBMERSIBLE  2.2 THREE LOBES BLOWER TYPE HELICAL ROTOR มีหลักการทำงานแบบ THREE LOBES แบบเกลียว จำนวน 2 อัน และทำการหมุนเพื่อผลิตลมออกมา เสียงเบากว่า THREE LOBES แบบตรง   3. REGENERATIVE BLOWER คือเครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังแรงลมได้ตั้งแต่ 650 – 10,200 ลิตร/นาที มีหลักการทำงานแบบหมุนใบพัด ใน 1 พัดจะมีหลายซีกเพื่อส่งแรงลมระหว่างซีกเพื่อเพิ่มแรงดันลม เป็นชนิดที่มีปริมาณลมมากกว่าชนิดอื่น  4. SUBMERSIBLE AERATOR or SUBMERSIBLE EJECTOR คือ เครื่องเติมอากาศที่สามารถผลิตกำลังลมได้ตั้งแต่ 133 – 6,666 ลิตรต่อนาที โดยต้องแช่ตัวปั้มลงไปในน้ำ และทำการดูดอากาศจากด้านนอกบ่อลงไป ซึ่งจะทำการดูแลรักษายากที่สุด และโอกาสเสียมากที่สุด

ประโยชน์ของเครื่องเติมอากาศ การบำบัดน้ำเสียโดยใช้เครื่องเติมอากาศ เป็นระบบบำบัดน้ำเสียโดยอาศัยการเติมออกซิเจนให้น้ำ โดยใช้ เครื่องเติมอากาศ หรือ Aerator เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้เพียงพอ ต่อการนำไปใช้ย่อยสารอินทรีย์ในน้ำเสียได้เร็วขึ้น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการลดค่า BOD หรือค่าความสกปรกของน้ำเสีย หลักการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสียโดยการใช้เครื่องเติมอากาศ โดยปกติแล้วการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้เครื่องเติมอากาศ จะออกแบบบ่อ ให้มีความลึกประมาณ 2-6 เมตร และมีระยะเวลาในการกัดเก็บน้ำ ประมาณ 3-10 วัน แล้วตัวเครื่องเติมอากาศก็จะทำหน้าที่ ผสมตะกอนจุลินทรีย์ ออกซิเจนละลายในน้ำและน้ำเสีย และปรับสภาพน้ำทิ้งก่อนปล่อยสู่ธรรมชาติ

การบำบัดน้ำเสียโดยใช้เครื่องเติมอากาศ อุปกรณ์ที่สำคัญของระบบบ่อเติมอากาศ ได้แก่เครื่องเติมอากาศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ออกซิเจนแก่น้ำเสีย เครื่องเติมอากาศแบ่งออกได้ 4 แบบใหญ่ ๆ คือ เครื่องเติมอากาศที่ผิวหน้า (Surface Aerator) เครื่องเติมอากาศเทอร์ไบน์ (Turbine Aerator) เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ (Submersible Aerator) และเครื่องเติมอากาศแบบหัวฉีด (Jet Aerator)  เครื่องเติมอากาศที่ผิวหน้า (Surface Aerator) จะทำหน้าที่ตีน้ำที่ระดับผิวบนให้กระจายเป็นเม็ดเล็กๆ ขึ้นมาเพื่อสัมผัสกับอากาศเพื่อรับออกซิเจน ในขณะเดียวกันก็จะเป็นการกวนน้ำให้ผสมกันเพื่อกระจายออกซิเจนและมวลสารในน้ำเสียให้ทั่วบ่อ 

 
Visitors: 10,428